บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์ 16, 2017

ติวเตอร์ เฉพาะทาง ตอนกฎหมายมหาชน

กฎหมายมหาชน เป็นเรื่องความคิด ในการแบ่งแยก สาขาของกฎหมาย ออกเป็น กฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชนซึ่งกฎหมายมหาชนนั้นอาจเกิดมาจาก กฎหมายลายลักษณ์อักษร จารีตประเพณี หรือทฤษฎีทางวิชาการ ด้านต่างๆ ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยโรมันโบราณ เมื่อประมาณ 500 ปีก่อนคริสตศักราช เห็นได้ชัด ในประเทศภาคพื้นทวีปยุโรป แต่ไม่สู้จะมีความสำคัญนักเพราะเป็น กฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐกับประชาชน (ราษฎร) จนกระทั่ง อันเปียน ( Ulpion)ได้อธิบายว่า กฎหมายมหาชนคืออะไร และได้มีการจัดทำ กฎหมายปกครองขึ้นในยุคคลาสสิก จึงได้มีบทบาทสำคัญขึ้น และเริ่มเสื่อมลงอีกครั้ง เมื่อสิ้นสมัย ของพระเจ้าจักรพรรดิ justinian ต่อมากฎหมายมหาชน รุ่งเรือง และพัฒนามามากในประเทศฝรั่งเศส เมื่อคริสตศักราช 1789 ได้มีการจัดตั้งสภาแห่งรัฐขึ้น ทำหน้าที่เป็นศาลปกครองสูงสุด ในเวลาต่อมา และสำหรับในประเทศ ที่ใช้ระบบคอมมอนลอว์ ไม่มีการแบ่งแยก สาขาของกฎหมาย ออกเป็นกฎหมายมหาชนและเอกชน เด็ดขาดจากกัน และในปัจจุบัน กฎหมายมหาชน ก็มีการแบ่งออกเป็น เช่นกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ เช่นกฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กฎหมายพรรคการเมือง กฎหมายปกครอง เช่

เฉพาะทาง รัฐประศาสนศาสตร์

 รัฐประศาสนศาสตร์ ในความหมายของแนวคิดและทฤษฎี ต่างกันอย่างไร      แนวคิด (Concept)นั้น เกิดขึ้นโดยการสังเกต การเปรียบเทียบ ความคล้ายกัน และความแตกต่าง ซึ่งอาจเป็นความแตกต่าง ในสิ่งที่นึกคิด ความเชื่อ มุมมองหรือมโนคติ ด้านต่างๆของนักคิดนั้น หรือบุคคลอื่นใดก็ตามแล้วนำมาประยุกต์ หรือบูรณาการ โดยการเสนอแนะ หรือเข้าร่วม อาจเป็นข่าว หรือเป็นบทความ ซึ่งแนวคิดนั้น อาจจะถูกหรือผิดก็ได้   ทฤษฎี (Theory) หมายถึง การกำหนดข้อสันนิษฐาน เกิดขึ้นอย่างมีระเบียบมีหลักเกณฑ์ ซึ่งได้รับวิธีการมาจาก สหวิชาการ ทำให้เกิดกฎเกณฑ์ ที่ได้รับมาจากแนวความคิด จากการค้นคว้า การทดลอง โดยใช้เหตุผลเป็นพื้นฐาน และนำผลที่เกิดขึ้น นั้นมาใช้ เป็นหลักเกณฑ์ตลอดไป